ระบบลำเลียงแสงที่ 5.2 จัดสร้างภายใต้โครงการจัดตั้งสถานีร่วมวิจัย มทส. - นาโนเทค - สซ. เพื่อการใช้แสงซินโครตรอน โดยบุคลากรจากทั้งสามองค์กรจะใช้ประโยชน์จากแสงซินโครตรอนในการวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกัน...
คือ เทคนิคการตรวจสอบคุณสมบัติของสาร โดยอาศัยการกระตุ้นอะตอมด้วยรังสีเอ็กซ์ที่มีความยาวคลื่นเหมาะสม เมื่ออะตอมของสารตัวอย่างถูกกระตุ้น คลื่นพลังงานของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจะเกิดการแกว่ง และเกิดปฏิกิริยากับสนามพันธะของอิเล็กตรอนภายในอะตอม ส่งผลให้อิเล็กตรอน เหล่านั้นได้รับพลังงานกระตุ้น และเคลื่อนย้ายตำแหน่ง...
1. ช่วง X-ray Absorption Near Edge Structure (XANES) ปรากฎในสเปกตรัมของสัญญาณ...
- ดาวน์โหลดสารมาตรฐานที่วัดโดยระบบลำเลียงแสง 5.2 - โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล (Demeter:XAS Data Processing and...
อุปกรณ์สนับสนุน (Supporting Instruments) In-situ Heating Cell for Transmission mode...
โลหะหนักถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากมายในชีวิตประจำวัน ทั้งในด้านอุตสาหกรรมการผลิต เช่นการผลิตพลาสติก พีวีซี...
![]() |
สอบถามข้อมูลทั่วไป : siampl@slri.or.th | งานรับส่งหนังสือ : saraban@slri.or.th | หมายเลขโทรศัพท์ : (+66) 044 217 040-1 |
![]() |
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) Synchrotron Light Research Institute (Public Organization) อาคารสิรินธรวิชโชทัย 111 ถ. มหาวิทยาลัย ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 |
หน่วยงานในกำกับ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation |
![]() |
Copyright © 2017 Synchrotron Light Research Institute. ALL RIGHTS RESERVED. Some Photos by Freepik |
|
แสดงผลได้ดีใน Microsoft Edge, Google Chrome, Firefox, Safari on Apple Device และรองรับการแสดงผลบน Moblie Devices | ![]() |
เว็บไซต์นี้ เป็นเว็บไซต์หน่วยงานของรัฐในสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดตั้งขึ้นเพื่อมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพทางด้านเทคโนโลยีแสงซินโครตรอนเพื่อสนับสนุนประเทศในการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป |