การใช้พืชบำบัดสารมลพิษในดินโดยกระบวนการ Phytoremediation
 
การใช้ความสามารถของพืชเพื่อบำบัดสารมลพิษเพื่อลดอันตราย ทั้งในดิน น้ำ และอากาศนั้น เป็นการบำบัดที่มีค่าดำเนินการต่ำ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

altalt

งานวิจัยนี้ได้สำรวจบริเวณเหมืองสังกะสี ที่ อ. แม่สอด จ. ตาก พบว่ามีต้นว่านมหากาฬที่สามารถเจริญอยู่รอดได้ จึงนำมาวิเคราห์หาโลหะแคดเมียมและสังกะสี ในส่วนต่างๆ ด้วยเทคนิคการดูดกลืนรังสีเอ็กซ์

altalt

ผลการวิเคราะห์พบว่ามีการสะสมของสังกะสีและแคดเมียมในต้นว่านมหากาฬ ดังนั้นต้นว่านมหากาฬสามารถนำมาบำบัดสังกะสีได้ และต้องเก็บเกี่ยวภายในเวลา 2 เดือน หรือก่อนที่จะทิ้งใบ เพื่อป้องกันการละลายกลับสู่สิ่งแวดล้อม จากผลการทดลอง ทำให้ทราบถึงกลไกที่เกี่ยวข้องกับการสะสมโลหะแคดเมียมและสังกะสี ในต้นว่านมหากาฬ ซึ่งข้อมูลที่ได้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการนำพืชในกลุ่มว่านหรือพืชหัว ไปใช้ในการพื้นฟู สภาพดินปนเปื้อนโลหะหนัก และใช้ในการศึกษาการสะสมโลหะหนัก โดยพืชชนิดอื่นหรือโลหะชนิดอื่นได้

Menu BL7.2W: MX

ระบบลำเลียงแสงที่ 7.2W: MX

         ระบบลำเลียงแสง 7.2 Macromolecular Crystallography...

ปีสากลแห่งผลึกศาสตร์ 2014

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) และสหภาพสากลแห่งผลึกศาสตร์ (IUCr) ไ...

การประยุกต์ใช้ MX

โครงสร้างสามมิติของเอนไซม์เบนโซฟีโนนซินเทสจากเปลือกมังคุด

          สารประกอบแซนโทน เป็นสารกลุ่มฟีนอล ซึ่งมีรายงานวิจัยว่าอนุพันธ์ของ...

โครงสร้างสามมิติของเอนไซม์อัลโดคีโตรีดักเดสในข้าวขาวดอกมะลิ 105

          ข้าวหอมมะลิ เป็นสายพันธุ์ข้าวที่มีถิ่นกำเนิดในไทย มีลักษณะกลิ่นหอ...

โครงสร้างสามมิติของเอนไซม์แอสปาร์ทิลทีอาร์เอ็นเอซินทิเทสจากแบคทีเรีย Helicobacter pylori

          โปรตีนเป็นเป็นสารชีวโมเลกุลซึ่งมีความสำคัญในเ...

การศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สกัดจากเห็ดรับประทานได้

เล็กตินเป็นสารโปรตีนหรือไกลโคโปรตีนที่มีความจำเพาะคล้ายแอนติบอดีที่ทำให้เกิดการจับกลุ่มของเซลล์แต่ไ...

การศึกษาโครงสร้างและคุณสมบัติการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์แมนแนนเนส

แมนแนนเนสเป็นเอนไซม์ในกลุ่มไกลโคซิลไฮโดรเลส (GH26) ซึ่งมีคุณสมบัติในการเร่งปฏิกริยาการย่อยน้ำตาลสาย...

kmslrikmslri2


11
bl1 1
bl1 2
bl1 3
bl2 2 2
bl3 2
bl4 1
b5 1W 3
b5 2 2
b5 3 3
b6
bl7 2
bl8


p1
p2
p3
p4
p5
p6
p7

 


stap
training

3g