scatter  page2 h1

คือ เทคนิคการตรวจสอบคุณสมบัติของสาร โดยอาศัยการกระตุ้นอะตอมด้วยรังสีเอ็กซ์ที่มีความยาวคลื่นเหมาะสม เมื่ออะตอมของสารตัวอย่างถูกกระตุ้น คลื่นพลังงานของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจะเกิดการแกว่ง และเกิดปฏิกิริยากับสนามพันธะของอิเล็กตรอนภายในอะตอม ส่งผลให้อิเล็กตรอน เหล่านั้นได้รับพลังงานกระตุ้น และเคลื่อนย้ายตำแหน่ง โดยย้ายระดับพลังงานพร้อมๆกับการปลดปล่อยพลังงานในรูปของแสง 

(a) กลไกการดูดกลืนรังสีเอกซ์ ทำให้อะตอมอยู่ในสถานะกระตุ้น

XRF Auger

(b) กลไกการเกิดการเรืองแสงในย่านรังสีเอกซ์   (c) กระบวนการเกิดการแผ่รังสีออเจอร์

Photoelectric Effect: An x-ray is absorbed by an atom when the energy of the x-ray is transferred to a core-level electron (K,L or M shell) which is ejected from the atom. The atom is left in an excited state with an  empty electronic level (a core hole). Any excess energy from the x-ray is given to the ejected photoelectron.

X-ray Fluorescence: An x-ray with energy = the difference of the core-levels is emitted.                          

Auger Effect: An electron is promoted to the continuum from another core-level. 

        page2 h2

          หลักการของเทคนิค XAS คือ การฉายรังสีเอกซ์บนสารที่ต้องการศึกษาและวัดอัตราส่วนการดูดกลืนรังสีเอกซ์ที่พลังงานต่างๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสามารถใช้บ่งบอกถึงโครงสร้างของสารตัวอย่างในระดับอะตอมได้ ระบบลำเลียงแสงและสถานีทดลองนี้สามารถทำงานได้ในช่วงพลังงานแสงซินโครตรอนย่านรังสีเอกซ์ตั้งแต่ 1,240 – 12,100 อิเล็กตรอนโวลต์ (eV) โดยใช้เครื่องคัดเลือกพลังงานแสงแบบผลึกคู่ (Double Crystal Monochromator หรือ DCM) ระบบลำเลียงแสงที่ 5.2 ถูกออกแบบโดยทีมนักวิจัยและวิศวกรของสถาบันฯโดยอุปกรณ์ส่วนใหญ่จัดสร้างขึ้นเองภายในสถาบันฯซึ่งได้ทำการติดตั้งและทดสอบแล้วเสร็จและได้เริ่มเปิดให้บริการแสงแก่โครงการที่ได้รับการจัดสรรจากหน่วยงานทั้งสามองค์กร (มทส. นาโนเทค สซ) ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2556 โดยโควตาที่เป็นส่วนของสถาบันฯได้จัดสรรให้แก่ผู้ใช้ภายนอกซึ่งสามารถสมัครเข้ามาใช้ได้โดยทั่วไป

BL5 TM mode

รูปที่ 2 แสดงกระบวนการเกิดการดูดกลืนรังสีเอกซ์ เมื่อผ่านการคัดเลือกพลังงาน

      ในการวัดแบบทะลุผ่าน  (รูปที่ 2) เราจะวัดการดูดกลืนรังสีเอกซ์จากความเข้มของรังสีเอกซ์ที่ลดลงหลังจากที่เดินทางผ่านตัวอย่าง ความเข้มของรังสีก่อน (I0) และหลังตัวอย่าง (I) มีความสัมพันธ์ตามสมการ

equation

        โดยที่ตัวแปร µ และ x คือ สัมประสิทธิ์ของการดูดกลืนรังสีเอกซ์และความหนาของตัวอย่าง ตามลำดับ เราใช้สมการนี้ เพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีที่แต่ละพลังงานโฟตอน โดยในการทดลองเราจะปรับค่าพลังงานโฟตอนของรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคัดเลือกพลังงานแสง (x-ray monochromator) เมื่อนำค่า µ(E) มาแสดงเป็นกราฟกับค่าพลังงานโฟตอน E เราจะได้สเปกตรัม XAS ของตัวอย่าง (รูปที่ 3)EXAFS

 รูปที่ 3 สเปกตรัมการดูดกลืนรังสีเอกซ์ในชั้น K (K-edge absroption) ของอะตอมคอปเปอร์ (Cu metal)

BL3.2a PES

สถานีทดลอง BL3.2U: PES/PEEM

สถานีทดลอง BL3.2U: PES/PEEM

  ระบบลำเลียงแสงที่ 3.2Ua:PES เปิดให้บริการแสงซินโครตรอนในย่านของ Vacuum Ultra-Violet (VUV) ถึง Soft X-ray...

หลักการพื้นฐาน

หลักการพื้นฐาน

หลักการทดลอง           Photoelectron Emission Spectroscopy (PES) เป็นกลุ่มเทคนิคการทดลองเพื่อใช้วิเคราะห์และศึกษาคุณสมบัติบริเวณพื้นผิวของวัสดุโดยอาศัยหลักการจากปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก (Photoelectric effect) (สามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก...

ข้อมูลทางเทคนิค

ข้อมูลทางเทคนิค

แหล่งกำเนิดแสง (Source) Plana Halbach-type undulator (Danfysik : U60)  ขนาดความเข้มสนามแม่เหล็ก 0.5467...

การเตรียมตัวอย่าง

การเตรียมตัวอย่าง

สถานีทดลองย่อย XPS   เปิดให้บริการหลักสำหรับเทคนิค XPS และ XAS สถานีทดลองนี้ประกอบไปด้วย Electron energy analyser...

การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ผลการทดลอง           การวิเคราะห์ผลการทดลองสามารถทำได้ด้วยโปรแกรมพื้นฐานเช่น Avantage, Igor Pro หรือ Origin โดยทางระบบลำเลียงแสงได้ติดตั้งโปรแกรม Advantage...

ผลงานตีพิมพ์

 2019 "Electrooxidation of formic acid enhanced by surfactant-free palladium nanocubes...

kmslrikmslri2


11
bl1 1
bl1 2
bl1 3
bl2 2 2
bl3 2
bl4 1
b5 1W 3
b5 2 2
b5 3 3
b6
bl7 2
bl8


p1
p2
p3
p4
p5
p6
p7

 


stap
training

3g