สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ร่วมกันวิจัยพัฒนางานด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย
“มีเทน” เป็นองค์ประกอบหลักของแก๊สธรรมชาติโดยมีสัดส่วนประมาณ 75% แก๊สมีเทนมีคุณสมบัติไวไฟ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ทำให้ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาหรือดมกลิ่น จึงต้องใช้อุปกรณ์จำเพาะที่เรียกว่า “แก๊สเซ็นเซอร์” ตรวจสอบการมีอยู่ของแก๊สชนิดนี้ โดยเฉพาะเมื่อเกิดการรั่วไหล ซึ่งแก๊สเซ็นเซอร์คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจสอบ...
“เมืองจูลิโอโปลิส” (Juliopolis) เป็นเมืองโบราณ ที่ปัจจุบันอยู่ในเขตนัลลิฮาน ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจากเมืองหลวงอังคารา ประเทศตุรกี และเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ผ่านหลายยุคสมัยตั้งแต...
ประเทศไทยกำลังจะมีการสร้างเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอนเครื่องใหม่พลังงาน 3 GeV ในพื้นที่เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) จ.ระยอง เครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอนดังกล่าวจะเป็นเครื่องที่สองของไทย ที่จะขยายขีดความสามารถในการยกระดับงานวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยในอนาคต ต่อเนื่องจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอนเครื่องปัจจุบันพลังงาน 1.2 GeV ที่ตั้งอยู่ภายในพื้นที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) จังหวัดนครราชสีมา<...
เครื่องที่ 5 LCR Meter
เครื่อง Keysight Precision LCR Meter E4980A เป็นเครื่องวัดอุปกรณ์พาสซีฟ คือ ตัวเหนี่ยวนำ(L) ตัวเก็บประจุ(C) และความต้านทาน(R) ซึ่งเป็นอุปกรณ์พื้นฐานในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด ตั้งแต่อุปกรณ์ขนาดใหญ่ จนถึงงานไมโครอิเล็กทรอนิกส์ที่มีขนาดเล็กและซับซ้อน ปัจจุบันมีอุปกรณ์ยึดติดผิวหรือ SMD (Surface Mount Device)
ดังนั้น E4980A สามารถวัดพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับวงจรได้ดังนี้
1. ค่าความเหนี่ยวนำไฟฟ้า (Inductance)
2. ค่าความจุไฟฟ้า (Capacitance)
3. ค่าความต้านทานไฟฟ้า (Resistance)
4. ค่าอิมพีแดนซ์ (Impedance)
5. ค่าความนำไฟฟ้า (Conductance)
6. ค่าแอดมิตแตนซ์ (Admittance)
7. ค่าแรงดันไฟตรง (DC Voltage)
8. ค่ากระแสไฟตรง (DC Current)
9. ค่าแฟกเตอร์ความสูญเสีย (Dissipation Factor)
10. ค่าแฟกเตอร์คุณภาพ (Quality Factor)
11. ค่ารีแอคแตนซ์ (Reactance)
12. การสนับสนุน (Sustenance)
13. มุมเฟส (Phase Angle)
เครื่อง Keysight Precision LCR Meter E4980A
- รายละเอียดเพิ่มเติมเครื่องE4980A
โครงการอบรม เรื่อง “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแสงซินโครตรอนเพื่องานวิจัยด้านตัวเร่งปฏิกิริยา”
วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 เวลา 09.00 – 15.00 น.
ณ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) จังหวัดนครราชสีมา และผ่านระบบการประชุมออนไลน์ (Virtual Conference Meeting)
...
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) จัดอบรมการประยุกต์ใช้ประโยชน์แสงซินโครตรอนและแสงสุญญากาศอัลตราไวโอเลต (VUV) สำหรับเทคนิค Angle-resolved Photoemission (ARPES) เพื่อศึกษาตัวอย่างทางด้านสารกึ่งตัวนำและวัสดุ 2 มิติ เมื่อวันที่ 1 เม.ย. 68 ณ ระบบลำเลียงแสงที่ 3.2U ให้แก่ผู้สนใจทั้งภาคการศึกษาและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งการอบรมครั้งนี้นำโดย Dr.Hideki Nakajima รักษาการหัวหน้าส่วนศึกษาโครงสร้างพื้นผิว
![]() |
สอบถามข้อมูลทั่วไป : siampl@slri.or.th | งานรับส่งหนังสือ : saraban@slri.or.th | หมายเลขโทรศัพท์ : (+66) 044 217 040-1 |
![]() |
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) Synchrotron Light Research Institute (Public Organization) อาคารสิรินธรวิชโชทัย 111 ถ. มหาวิทยาลัย ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 |
หน่วยงานในกำกับ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation |
![]() |
Copyright © 2017 Synchrotron Light Research Institute. ALL RIGHTS RESERVED. Some Photos by Freepik |
|
แสดงผลได้ดีใน Microsoft Edge, Google Chrome, Firefox, Safari on Apple Device และรองรับการแสดงผลบน Moblie Devices | ![]() |
เว็บไซต์นี้ เป็นเว็บไซต์หน่วยงานของรัฐในสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดตั้งขึ้นเพื่อมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพทางด้านเทคโนโลยีแสงซินโครตรอนเพื่อสนับสนุนประเทศในการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป |