สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ร่วมกันวิจัยพัฒนางานด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย
“มีเทน” เป็นองค์ประกอบหลักของแก๊สธรรมชาติโดยมีสัดส่วนประมาณ 75% แก๊สมีเทนมีคุณสมบัติไวไฟ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ทำให้ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาหรือดมกลิ่น จึงต้องใช้อุปกรณ์จำเพาะที่เรียกว่า “แก๊สเซ็นเซอร์” ตรวจสอบการมีอยู่ของแก๊สชนิดนี้ โดยเฉพาะเมื่อเกิดการรั่วไหล ซึ่งแก๊สเซ็นเซอร์คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจสอบ...
“เมืองจูลิโอโปลิส” (Juliopolis) เป็นเมืองโบราณ ที่ปัจจุบันอยู่ในเขตนัลลิฮาน ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจากเมืองหลวงอังคารา ประเทศตุรกี และเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ผ่านหลายยุคสมัยตั้งแต...
วันพุธที่ 29 พ.ค. 67 ทีมนักฟิสิกส์และวิศวกร สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) นำทีม ประกอบแม่เหล็กต้นแบบสำหรับเครื่องเร่งอนุภาคแนววงกลม (Booster Synchrotron) ของเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอนระดับพลังงาน 3 GeV จำนวน 3 ตัว ได้แก่ 1. แม่เหล็กสี่ขั้วชนิด QD (Defocusing Quadrupole Magnet) 2. แม่เหล็กหกขั้วชนิด SF/SD (Focusing/Defocusing Sextupole Magnet) และ 3. แม่เหล็กสี่ขั้วผสมหกขั้วชนิด QF (Quadrupole-Sextupole Magnet) โดยแม่...
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
---|
คำไทย | คำศัพท์ |
สวัสดี | ซาลามัด ดาตัง |
ขอบคุณ | เตริมา กะชิ |
สบายดีไหม | อาปา กาบา |
ยินดีที่ได้รู้จัก | เจมบิรา ดาปัด เบอเตมู อันดา (gembira dapat bertemu anda) |
พบกันใหม่ | เบอจัมปา ลากิ (berjumpa lagi) |
ลาก่อน | เซลามัต ติงกัล |
นอนหลับฝันดี | มิมปิ๊ มานิส (mimpi manis) |
เชิญ | เม็นเจ็มพุด (menjemput) |
ใช่ | ยา (ya) |
ไม่ใช่ | ทีแด๊ก (tidak) |
อากาศดีจัง | บาอิค คอค่า (baik cauca) |
อากาศร้อนมาก | ซังกัด พานัส |
อากาศหนาวมาก | คอค่า ยัง ซังกัด เซจุ๊ค (cauca yang sangat sejuk) |
ไม่เป็นไร | ทีแด๊ก อปาอาปา (tidak apa-apa) |
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
คำไทย | คำศัพท์ |
น้ำ | แอร์ (air) |
น้ำชา | เท (teh) |
น้ำแข็ง | อาอิส (ais) |
กาแฟ | โคปิ (kopi) |
กาแฟเย็น | โคปิ เซจุ๊ค (kopi sejuk) |
กาแฟร้อน | โคปิ พานาส (kopi panas) |
นม | ซูซู (susu) |
ครีม | กริม (krim) |
น้ำผลไม้ | จูส (jus) |
เนื้อหมู | ดาจิง บาบิ (daging babi) |
ไก่ | อายัม (ayam) |
ปลา | อิคาน (ikan) |
เนื้อวัว | ดาจิง (daging) |
ผัก | ซาโย ซายูรัน (sayur-sayuran) |
ผลไม้ | บูอา บัวฮัน (buah-buahan) |
อร่อย | ลาซัท (lazat) |
ไม่อร่อย | ทีแด๊ค เซดั๊บ (tidak sedap) |
เผ็ด | พีดาส (pedas) |
หวาน | มานิส (manis) |
เปรี้ยว | มาซัม (masam) |
เค็ม | มาซิน (masin) |
ก๋วยเตี๋ยว | มิ (mi) |
น้ำแกง | ซุป (sup) |
ของหวาน | เพ็นคูซี่ (pencuci) |
ขนม | มานิส (manis) |
ไอศครีม | อาอิส กริม (ais krim) |
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
คำไทย | คำศัพท์ |
หนึ่ง | ซาตู (satu) |
สอง | ดัว (dua) |
สาม | ทิก้า (tiga) |
สี่ | เอ็มแพท (empat) |
ห้า | ลิม่า (lima) |
หก | อีนาม (enam) |
เจ็ด | ทูจู (tujuh) |
แปด | ลาพัน (lapan) |
เก้า | เซ็มบิลัน (sembilan) |
สิบ | เซปูลู (sepuluh) |
วัน | ฮาริ (hari) |
สัปดาห์ | มิงกุ (minggu) |
เดือน | บูลาน (bulan) |
ปี | ทาฮุน (tahun) |
กี่โมงแล้ว | อาปาคา มาซ่า (apakah masa) |
ชั่วโมง | แจม (jam) |
เวลาช่วงเช้า (AM) | |
ตี 1 | ปุกูล ซาตู ปากิ (pukul satu pagi) |
ตี 2 | ปุกูล ดัว ปากิ (pukul dua pagi) |
ตี 3 | ปุกูล ทิก้า ปากิ (pukul tiga pagi) |
ตี 4 | ปุกูล เอ็มแพท ปากิ (pukul empat pagi) |
ตี 5 | ปุกูล ลิม่า ปากิ (pukul lima pagi) |
6 โมง | ปูกูล อีนาม ปากิ (pukul enam pagi) |
7 โมง | ปุกูล ทุจู ปากิ (pukul tujuh pagi) |
8 โมง | ปูกูล ลาปัน ปากิ (pukul lapan pagi) |
9 โมง | ปุกูล เซ็มบิลัน ปากิ (pukul sembilan pagi) |
10 โมง | ปุกูล เซปูลู ปากิ (pukul sepuluh pagi) |
11 โมง | ปุกูล เซเบลัส ปากิ (pukul sebelas pagi) |
12.00 น. เที่ยง | เทนกาฮาริ (tengahari) |
เวลาช่วงบ่าย (PM) | |
13.00 น. | ปุกูล ซาตู ปิตัง (pukul satu petang) |
14.00 น. | ปูกูล ดัว ปิตัง (pukul dua petang) |
15.00 น. | ปุกูล ทิก้า ปิตัง (pukul tiga petang) |
16.00 น. | ปุกูล เอ็มแพท ปิตัง (pukul empat petang) |
17.00 น. | ปุกูล ลิม่า ปิตัง (pukul lima petang) |
18.00 น. | ปุกูล อินาม ปิตัง (pukul enam petang) |
เวลาช่วงค่ำ (PM) | |
19.00 น. | ปุกูล ทุจู มาลาม (pukul tujuh malam) |
20.00 น. | ปุกูล ลาปัน มาลาม (pukul lapan malam) |
21.00 น. | ปุกูล เซ็มบิลัน มาลาม (pukul sembilan malam) |
22.00 น. | ปุกูล เซปูลู มาลาม (pukul sepuluh malam) |
23.00 น. | ปุกูล เซเบลัส มาลาม (pukul sebelas malam) |
24.00 น. | เทนกา มาลาม (tengah malam) |
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
คำไทย | คำศัพท์ |
ราคาเท่าไร | เบราปา บันยัค (berapa banyak) |
ลดราคาได้ไม่ | จัวลัน ซายา (jualan saya) |
เงินทอน | เปรูบาฮาน อิตู (perubahan itu) |
เงินสด | ตูไน (tunai) |
บัตรเครติด | ก๊าด เครดิต (kad kredit) |
ราคาแพง | มาฮาล (mahal) |
ราคาถูก | มูร่า (murah) |
ซื้อ | เม็มบิลิ (membeli) |
ไม่ซื้อ | ทีแด๊ค เม็มบิลิ (tidak membeli) |
เสื้อผ้า | คาอิน (kain) |
รองเท้า | คาสุด (kasut) |
เครื่องสำอางค์ | คอสเมติก (kosmetik) |
ยา | เปรูบาทาน (perubatan) |
เครื่องใช้ไฟฟ้า | เปอคาคัส (perkakas) |
กระเป๋า | เบ็ค (beg) |
กระเป๋าสตางค์ | ดอมเปต (dompet) |
หนังสือเดินทาง | พาสปอร์ต (passport) |
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
คำไทย | คำศัพท์ |
ห้องน้ำ | แทนดัส (tandas) |
โทรศัพท์ | เทเลโฟน (telefon) |
โทรศัพท์สาธารณะ | เทเลโฟน อะวัม (telefon awam) |
บัตรเติมเงิน | เทเลโฟน ก๊าด (telefon kad) |
โทรศัพท์มือถือ | เทเลโฟน บิมบิท (telefon bimbit) |
ตู้ ATM | เอทีเอ็ม (ATM) |
ผ้าเย็น | ตัวล่า เซจุ๊ค (taula sejuk) |
รองเท้าแตะ | เซลีปา (selipar) |
ผ้าเช็ดตัว | ตัวล่า (tuala) |
ผ้าเช็ดหน้า | ซาปู ทันกัน (sapu tangan) |
กล้องถ่ายรูป | คาเมร่า (kamera) |
กล้องวีดีโอ | แคมคอเด้อร์ (camcorder) |
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
สกุลเงิน | ดอลลาร์บรูไน อักษรย่อ :BND |
ชนิดของเงิน | |
เหรียญ | 1,5, 10, 20, 50 เซนต์, 1 ดอลลาร์ |
ธนบัตรที่ใช้บ่อย | 1, 5, 10, 50, 100 ดอลลาร์ |
ธนบัตรที่ใช้ไม่บ่อย | 20, 25, 500, 1,000, 10,000 ดอลลาร์ |
คำไทย | คำศัพท์ |
โรงแรม | โฮเทล (hotel) |
โรงภาพยนต์ | พาวากัม (pawagam) |
โรงละคร | ทีเต้อร์ (teater) |
โรงพยาบาล | ฮอสปิตอล (hospital) |
พิพิธภัณฑ์ | มิวเซียม (muzium) |
สถานีตำรวจ | บาไล โปลิส (balai poliz) |
ภัตตาคาร | เรสโตรัน (restoran) |
ถนน | จาลัน (jalan) |
ร้านค้า | เมมบิลิ เบลา (membeli-belah) |
ห้างสรรพสินค้า | ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ (department store) |
ร้ายขายยา | เคได ยูบัต (kedai ubat) |
สวนสาธารณาะ | ทามาน อะวัม (taman awam) |
สนามกีฬา | สุกัน สเตเดี้ยม (sukan stadium) |
สนามบิน | ลาปากัน เทอบัง (lapagan terbang) |
สถานีขนส่งสายเหนือ | เทอมินอล บัส อูทาร่า (terminal bus utara) |
สถานีขนส่งสายใต้ | เทอมินอล บัส เซลาตัน (terminal bus selatan) |
สถานีขนส่งสายตะวันออก | เทอมินอล บัส ติเมอ (terminal bus timur) |
ธนาคาร | แบงค์ (bank) |
รถแท็กซี่ | เท้กซี่ (teksi) |
รถเมล์ | บัส อะวัม (bus awam) |
รถไฟฟ้า | เอ็มอาร์ที เม้ทโทร เรล ทรานสิท (MRT: Metro Rail Transit) |
รถไฟฟ้าใต้ดิน | เอ็มอาร์ที (MRT) |
เรือ | เฟอรี่ (feri) |
รถท้วร์ | เพอคูม่า (percuma) |
เครื่องบิน | กาปัล เทอบัง (kapal terbang) |
สายการบิน | ซยาริการ์ด ปีเนอบันกัน (syarikat penerbangan) |
รถสามล้อ | ทริสสิกัล (trisikal) |
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) จัดอบรมการประยุกต์ใช้ประโยชน์แสงซินโครตรอนและแสงสุญญากาศอัลตราไวโอเลต (VUV) สำหรับเทคนิค Angle-resolved Photoemission (ARPES) เพื่อศึกษาตัวอย่างทางด้านสารกึ่งตัวนำและวัสดุ 2 มิติ เมื่อวันที่ 1 เม.ย. 68 ณ ระบบลำเลียงแสงที่ 3.2U ให้แก่ผู้สนใจทั้งภาคการศึกษาและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งการอบรมครั้งนี้นำโดย Dr.Hideki Nakajima รักษาการหัวหน้าส่วนศึกษาโครงสร้างพื้นผิว
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “Workshop on Microfabrication Techniques for Organ on-a-Chip Development” ระหว่างวันที่ 31 มี.ค.-1 เม.ย.68 ณ ศูนย์บูรณาการเทคโนโลยีการแพทย์ทันสมัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมี ดร.พัฒนพงศ์ จันทร์พวง หัวหน้าฝ่ายพัฒนาเทคนิคและวิศวกรรม พร้อมนักวิจัยจากส่วนพัฒนาเทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวิทยากรในการอบรม เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิค Microfabrication ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างอุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกส์สำหรับเป็นโมเดลจำลองอวัยวะสำหรับเลี้ยงเซลล์ประสาทและเซลล์กล้ามเนื้อ เพื่อศึกษาการตอบสนองของยา การพัฒนาตัวยาใหม่สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามอ่อนแรง
...![]() |
สอบถามข้อมูลทั่วไป : siampl@slri.or.th | งานรับส่งหนังสือ : saraban@slri.or.th | หมายเลขโทรศัพท์ : (+66) 044 217 040-1 |
![]() |
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) Synchrotron Light Research Institute (Public Organization) อาคารสิรินธรวิชโชทัย 111 ถ. มหาวิทยาลัย ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 |
หน่วยงานในกำกับ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation |
![]() |
Copyright © 2017 Synchrotron Light Research Institute. ALL RIGHTS RESERVED. Some Photos by Freepik |
|
แสดงผลได้ดีใน Microsoft Edge, Google Chrome, Firefox, Safari on Apple Device และรองรับการแสดงผลบน Moblie Devices | ![]() |
เว็บไซต์นี้ เป็นเว็บไซต์หน่วยงานของรัฐในสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดตั้งขึ้นเพื่อมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพทางด้านเทคโนโลยีแสงซินโครตรอนเพื่อสนับสนุนประเทศในการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป |