รายละเอียด
อัปเดตล่าสุดเมื่อ: 18 พฤศจิกายน 2564
ไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ มีความสำคัญต่อการพัฒนาทางเ ศรษฐกิจ รวมทั้งความเป็นอยู่ของมนุษ ย์ ในประเทศไทยมีการใช้ประโยชน ์จากไม้ในหลายด้าน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมสิ่งปลูก สร้าง และเฟอร์นิเจอร์ คุณสมบัติอย่างหนึ่งที่สำคั ญในการนำไม้ไปใช้ประโยชน์ คือความคงรูปของเนื้อไม้ หรือการที่ไม้ไม่หดหรือขยาย ตัวเมื่อนำไปใช้งาน สาเหตุสำคัญที่ทำให้เนื้อไม้มีการหดหรือขยายตัวก็คื อความชื้นในอากาศ โดยไม้แปรรูปที่ตัดออกมาจะม ีขนาดคงที่เมื่อความชื้นในอ ากาศคงที่ เมื่อมีความชื้นมากขึ้นเนื้ อไม้ก็อาจจะบวมขึ้นได้ การแปรรูปไม้จึงต้องมีกระบว นการเพื่อรักษาขนาดของเนื้อ ไม้ไม่ให้เปลี่ยนแปลงได้ง่า ยตามความชื้นในอากาศ
ความชื้นในอากาศก็คือโมเลกุ ลของน้ำที่อยู่ในอากาศ เมื่อน้ำเข้าไปอยู่ในเนื้อไ ม้ จะสามารถอยู่ได้ทั้งในบริเว ณช่องว่างในเนื้อไม้และในผน ังเซลล์ของเนื้อไม้ และเป็นน้ำที่อยู่ในผนังเซล ล์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ขนาด การหดหรือขยายขนาดของเนื้อไ ม้จึงเป็นปรากฏการณ์ทั้งในร ะดับมหภาคและจุลภาค เทคนิคทางซินโครตรอนเป็นอีก ทางเลือกสำหรับการศึกษาโครง สร้างผนังเซลล์ของเนื้อไม้ซ ึ่งมีขนาดในระดับไมครอนลงไป สามารถใช้เทคนิค x-ray tomography เพื่อถ่ายภาพ 3 มิติของเนื้อไม้ในระดับไมคร อนโดยไม่ต้องตัดตัวอย่าง ซึ่งอาจมีผลต่อลักษณะทางกาย ภาพของเนื้อไม้ และใช้เทคนิค small angle x-ray scattering (SAXS) และ wide angle x-ray scattering (WAXS) เพื่อศึกษาการจัดเรียงตัวขอ งเส้นใยไม้ (microfibril) ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของ ผนังเซลล์ การบูรณาการทั้งสามเทคนิคซิ นโครตรอนนี้จะทำให้ได้ภาพที ่ชัดเจนของโครงสร้างไม้ในระ ดับจุลภาค และนำไปอธิบายผลของน้ำในผนั งเซลล์ได้ ซึ่งการบูรณาการทั้งสามเทคน ิคซินโครตรอนนี้จะทำให้ได้ภ าพ ที่ชัดเจนของโครงสร้างไม้ใน ระดับจุลภาค นำไปอธิบายผลของน้ำในผนังเซ ลล์ และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา วิธีการแปรรูปไม้ เพื่อรักษาขนาดของเนื้อไม้ใ ห้คงที่มากที่สุด และเหมาะสมกับไม้แต่ละชนิด
เรียบเรียงโดย ดร.แพร จิรวัฒน์กุล นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแ สง
ที่มา 1) Fernandes AN, Thomas LH, Altaner CM, Callow P, Forsyth VT, Apperley DC, Kennedy CJ, Jarvis MC. Nanostructure of cellulose microfibrils in spruce wood. Proceedings of the National Academy of Sciences. 2011 Nov 22;108(47):E1195-203. 2) Gilani MS, Boone MN, Mader K, Schwarze FW. Synchrotron X-ray micro-tomography imaging and analysis of wood degraded by Physisporinus vitreus and Xylaria longipes. Journal of structural biology. 2014 Aug 1;187(2):149-57.