โครงการอบรม Synchrotron Radiation Application และการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับการวิเคราะห์ผลการทดลอง
โดยใช้เทคนิค SR-IR Microspectroscopy
ระหว่างวันที่ 6-8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม 2204 ชั้น 2 อาคาร อก.2
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
ประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมการอบรม
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) จะจัดโครงการอบรม Synchrotron Radiation Application และระบบลำเลียงแสงที่ 4.1 เทคนิค Infrared Spectroscopy and Imaging (IR) จะจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับการวิเคราะห์ผลการทดลอง โดยใช้เทคนิค SR-IR Microspectroscopy
วันเวลา/สถานที่
ในระหว่างวันที่ 6-8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม 2204 ชั้น 2 อาคาร อก.2 คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
กิจกรรมประกอบด้วย
การบรรยายทางวิชาการ การอบรมภาคปฏิบัติในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ โดยนักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสงของสถาบันฯ โดยผู้เข้าอบรมจะได้รับความรู้ทางทฤษฎีและการทดลองมีส่วนร่วมในการฝึกวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลอง และแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในกลุ่มงานวิจัยต่างๆ โดยโครงการอบรม Synchrotron Radiation Application มีเนื้อหาการบรรยายด้านต่างๆ ดังนี้
และโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับการวิเคราะห์ผลการทดลอง โดยใช้เทคนิค SR-IR Microspectroscopy มีเนื้อหาการบรรยาย ดังนี้
วัตถุประสงค์ของโครงการ
คุณสมบัตรผู้สมัคร
กำหนดการรับสมัคร
ปิดรับสมัคร ในวันพุธที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2562
ประกาศรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกในวันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2562
กำหนดการจัดอบรมในวันที่ 6-8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
ขั้นตอนการรับสมัคร
ลงทะเบียนสมัครเข้าร่วมโครงการ ฟรี ผ่าน http://beamapp.slri.or.th/ (ลงทะเบียนสมัครสมาชิกผู้ใช้แสงซินโครตรอน สำหรับผู้ใช้ใหม่)
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
นางสาวสิร์ดาภัทร รอดไทย
ส่วนบริการผู้ใช้ ฝ่ายกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจองค์กร
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
โทรศัพท์ 044-217-040 ต่อ 1603
Email Address : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
กำหนดการ
วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 |
|
08.30 - 09.00 น. |
ลงทะเบียน |
09.00 - 09.15 น. |
พิธีเปิด โดย คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรหรือผู้แทน |
09.15 - 09.45 น. |
แนะนำสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) โดย ดร.รุ่งเรือง พัฒนากุล หัวหน้าฝ่ายสถานีวิจัย |
09.45 - 10.15 น. |
การบรรยายเรื่อง “เทคนิค Deep X-Ray lithography สำหรับงานวิจัยด้านอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีชีวภาพ” โดย ดร.รุ่งเรือง พัฒนากุล หัวหน้าฝ่ายสถานีวิจัย |
10.15 - 10.30 น. |
รับประทานอาหารว่าง |
10.30 - 11.10 น. |
การบรรยายเรื่อง “เทคนิค SR-IR Microspectroscopy และการประยุกต์ใช้ในงานวิจัยด้านอาหารและโพลีเมอร์” โดย ดร.กาญจนา ธรรมนู ผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 4.1:IR |
11.10 - 11.30 น. |
การบรรยายเรื่อง “การประยุกต์ใช้เทคนิค SR-IR Microspectroscopy ในงานวิจัยด้านการชีวภาพ การเกษตร” โดย ดร.สุพัชรี ศิริวงศ์ นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
11.30 - 12.10 น. |
การบรรยายเรื่อง “เทคนิค Micro X-ray Fluorescence ในงานวิจัยด้านเกษตรและสิ่งแวดล้อม” โดย ดร.จิตริน ชัยประภา นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
12.10 - 13.30 น. |
รับประทานอาหารกลางวัน |
13.30 - 14.10 น. |
การบรรยายเรื่อง “เทคนิค X-ray Tomography ในงานวิจัยด้านชีวภาพและวัสดุศาสตร์” โดย ดร.แคทลียา โรจน์วิริยะ ผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 1.2: XTM |
14.10 - 14.50 น. |
การบรรยายเรื่อง “เทคนิค X-ray Absorption Spectroscopy ในงานวิจัยด้านเกษตรและวัสดุศาสตร์” โดย ดร.ยิ่งยศ ภู่อาภรณ์ ผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 2.2: TRXAS |
14.50 - 15.10 น. |
รับประทานอาหารว่าง |
15.10 - 15.50 น. |
การบรรยายเรื่อง “แสงซินโครตรอนกับงานวิจัยด้านชีวภาพ” โดย ดร.บัวบาล กัวประเสริฐ นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
15.50 - 16.30 น. |
การสมัครขอใช้บริการแสงซินโครตรอน อภิปรายและตอบข้อซักถาม |
วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 |
|
08.30 - 09.00 น. |
การแนะนำการลงโปรแกรม The Unscramble X และ OPUS 7.5 สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล โดย ดร.สุพัชรี ศิริวงศ์ นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
09.00 - 09.30 น. |
การบรรยายเรื่อง “เทคนิคการวัดตัวอย่างในโหมดต่างๆ ที่ BL4.1 โดยใช้เทคนิค SR-IR Microspectroscopy” โดย นางสาวดวงใจ ศรีสมุทร นักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการ |
09.30 - 10.00 น. |
การบรรยายเรื่อง “การเตรียมตัวอย่างสำหรับการวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิค SR-IR Microspectroscopy” โดย นางสาวกนกวรรณ ขำขจร นักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการ |
10.00 - 10.30 น. |
การแนะนำและสาธิตการใช้โปรแกรม The OPUS โดย ดร.สุพัชรี ศิริวงศ์ นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
10.30 - 10.45 น. |
รับประทานอาหารว่าง |
10.45 - 12.00 น. |
การทดลองใช้โปรแกรม OPUS สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล โดย ดร.บัวบาล กัวประเสริฐ นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง นางสาวดวงใจ ศรีสมุทร และนางสาวกนกวรรณ ขำขจร นักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการ |
12.00 - 13.00 น. |
รับประทานอาหารกลางวัน |
13.00 - 14.00 น. |
การทดลองใช้โปรแกรม OPUS สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) โดย ดร.บัวบาล กัวประเสริฐ นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง นางสาวดวงใจ ศรีสมุทร และนางสาวกนกวรรณ ขำขจร นักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการ |
14.00 - 14.30 น. |
การแนะนำและสาธิตการใช้โปรแกรม The Cytospec โดย นางสาวกนกวรรณ ขำขจร นักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการ |
14.30 - 14.50 น. |
การแนะนำโปรแกรม The Unscrambler X สำหรับงานวิเคราะห์ทางด้านสเปคตรัม โดย นางสาวรัตนันท์ พรรณารุโณทัย บริษัท จาร์พา เท็คเซ็นเตอร์ จำกัด |
14.50 - 15.10 น. |
การแนะนำโปรแกรม The Unscrambler X สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลโดยเทคนิค PCA โดย ดร.กาญจนา ธรรมนู ผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 4.1:IR |
15.10 - 15.30 น. |
รับประทานอาหารว่าง |
15.30 - 17.00 น. |
การทดลองใช้โปรแกรม The Unscrambler X สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลโดยเทคนิค PCA โดย ดร.บัวบาล กัวประเสริฐ นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง นางสาวดวงใจ ศรีสมุทร และนางสาวกนกวรรณ ขำขจร นักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการ |
วันศุกร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 |
|
09.00 - 09.30 น. |
การแนะนำโปรแกรม The Unscramble X สำหรับงานวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านเทคนิค PLS-DA และ SIMCA โดย ดร.กาญจนา ธรรมนู ผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 4.1:IR |
09.30 -10.30 น. |
การทดลองใช้โปรแกรม The Unscramble X สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลโดยเทคนิค PLS-DA และ SIMCA โดย ดร.บัวบาล กัวประเสริฐ นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง นางสาวดวงใจ ศรีสมุทร และนางสาวกนกวรรณ ขำขจร นักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการ |
10.30 - 10.50 น. |
รับประทานอาหารว่าง |
10.50 - 12.00 น. |
การทดลองใช้โปรแกรม The Unscramble X สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลโดยเทคนิค PLS-DA และ SIMCA (ต่อ) โดย ดร.บัวบาล กัวประเสริฐ นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง นางสาวดวงใจ ศรีสมุทร และนางสาวกนกวรรณ ขำขจร นักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการ |
12.00 - 13.00 น. |
รับประทานอาหารกลางวัน |
13.00 - 13.30 น. |
สรุปภาพรวมการใช้โปรแกรม ในงานวิจัยด้านต่างๆ โดย ดร.กาญจนา ธรรมนู ผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 4.1:IR |
13.30 - 15.00 น. |
สรุป อภิปรายและตอบข้อซักถาม |
1. การทดลองใช้โปรแกรม The Unscrambler X สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลโดยเทคนิค PCA
2. การแนะนำโปรแกรม The Unscramble X สำหรับงานวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านเทคนิค
PLS-DA และ SIMCA