พบกับ "ซินโครตรอน" แบบเต็มรูปแบบ
ได้ที่ คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
วันพฤหัสบดีที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 นี้
ประกาศประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้าร่วมการอบรม
ด้วย ฝ่ายสถานีวิจัย สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) มีความประสงค์จะจัดโครงการอบรม “Synchrotron Radiation Applications” ให้กับกลุ่มผู้ใช้เทคนิค Small Angle X-ray Scattering (SAXS), เทคนิค Photoemission Electron Spectroscopy (PES), เทคนิค Infrared Spectroscopy and Imaging (IR), เทคนิค X-ray Absorption Spectroscopy (XAS), เทคนิค Photoemission Electron Microscopy (PEEM), เทคนิค Micro X-ray Fluorescence Spectroscopy/Imaging (XRF), เทคนิค Deep X-ray Lithography (DXL), และเทคนิค X-ray Imaging and X-ray Tomographic Microscopy (XTM) โดยมีกิจกรรมประกอบด้วยการบรรยายวิชาการทั้งจากนักวิทยาศาสตร์ของสถาบันและการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในกลุ่มงานวิจัยด้านเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และด้านอื่น ๆ โดยผู้เข้าอบรมจะได้รับความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการวิเคราะห์ต่าง ๆ โดยใช้แสงซินโครตรอน และการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในกลุ่มงานวิจัย
วันเวลา/สถานที่
วันพฤหัสบดีที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 ณ คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน ประกอบด้วย
ทั้งนี้ ผู้ที่สนใจ สามารถสมัครเข้าร่วมการอบรม ได้ที่ E-mail Address : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. โดยแจ้งข้อมูล ดังนี้
กำหนดการรับสมัคร : ตั้งแต่วันนี้ - ถึงวันที่ 25 มกราคม 2561
ประกาศรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกในวันที่ 30 มกราคม 2561
กำหนดการจัดอบรม ในวันพฤหัสบดีที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561
กำหนดการ
โครงการอบรม “Synchrotron Radiation Applications”
ในวันพฤหัสบดีที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08.30 – 17.00 น.
ณ คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา
------------------------------------------------------------------------
08:30 - 09:00 น. | ลงทะเบียน |
09:00 - 09:15 น. | พิธีเปิด |
09:15 - 09:30 น. | ชมวีดีโอแนะนำสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) |
09:30 - 10:10 น. | การบรรยายเรื่อง “เทคนิค Small Angle X-ray Scattering (SAXS)” โดย ดร.นันทพร กมลสุทธิไพจิตร, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
10:10 - 10:50 น. | การบรรยายเรื่อง “เทคนิค Photoemission Electron Spectroscopy (PES)” โดย ดร.ณรงค์ จันทร์เล็ก, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
10:50 - 11:00 น. | รับประทานอาหารว่าง |
11:00 - 11:40 น. | การบรรยายเรื่อง “เทคนิค IR Spectroscopy and Imaging” โดย ดร.กาญจนา ธรรมนู, รักษาการผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 4.1: IR |
11:40 - 12:30 น. | การบรรยายเรื่อง “เทคนิค X-ray Absorption Spectroscopy (XAS) โดย ดร.พินิจ กิจขุนทด, รักษาการผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 5.2: SUT-NANOTEC-SLRI |
12:30 - 13:30 น. | รับประทานอาหารกลางวัน |
13:30 - 14:10 น. | การบรรยายเรื่อง “เทคนิค Photoemission Electron Microscopy (PEEM)” โดย ดร.ชนรรค์ เอื้อรักสกุล, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
14:10 - 14.50 น. | การบรรยายเรื่อง “เทคนิค Micro X-ray Fluorescence Spectroscopy/Imaging (XRF)” โดย ดร.นิชาดา เจียรนัยกูร, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
14:50 – 15:00 น. | รับประทานอาหารว่าง |
15:00 – 15::40 น. | การบรรยายเรื่อง “เทคนิค Deep X-ray Lithography (DXL)" โดย ดร.พัฒนพงศ์ จันทร์พวง, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง |
15.40 - 16.20 น. | การบรรยายเรื่อง “เทคนิค X-ray Imaging and X-ray Tomographic Microscopy (XTM)" โดย ดร.แคทลียา โรจนวิริยะ, รักษาการผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 1.2: XTM |
16.20 - 17.00 น | Proposal workshop และอภิปราย ตอบข้อซักถาม ดย ดร.ยิ่งยศ ภู่อาภรณ์, ผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 2.2: TRXAS |